หัวข้อข่าว : ส่วนที่ 3 การติดตาม ประเมินผล การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2560

(โพสต์เมื่อ : วันอังคารที่ 14 เดือนมีนาคม พ.ศ.2566  เวลา 15:13 น. เข้าชม : 27)

ส่วนที่ 3
การติดตาม ประเมินผล การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2560

มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการองค์การสู่ความเป็นเลิศ

ตัวบ่งชี้ที่ ตัวช่งชี้ ประเด็นการพิจารณา รอบ 6 เดือน รอบ 12 เดือน Word Excel ประเด็นแก้ไข ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ
1 การบริหารจัดการที่ดี ประเด็นการพิจารณาที่ 1 ภาวะผู้นำของผู้บริหารในการนำองค์การไปสู่เป้าหมาย             บูรณาการ AP ตัวชี้วัดที่ 21 
    ประเด็นการพิจารณาที่ 2 การใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารและการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา              บูรณาการ QP ตัวชี้วัดที่ X2 
    ประเด็นการพิจารณาที่ 4 การสร้างหรือประยุกต์ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี รูปแบบในการบริหารและการจัดการศึกษา             บูรณาการ QP ตัวชี้วัดที่ X2 
2 การพัฒนาสู่องค์การแห่งการเรียนรู้ ประเด็นการพิจารณาที่ 3 การส่งเสริม สนับสนุนให้มีแหล่งเรียนรู้ ด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้บุคลากรมีโอกาสได้เรียนรู้ตามบริบทของเขตพื้นที่การศึกษา (ติดตามแต่ไม่ประเมินผล)             บูรณาการ AP ตัวชี้วัดที่ 23 
3 การกระจายอำนาจและการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารและการจัดการศึกษา ประเด็นการพิจารณาที่ 2 การส่งเสริม ประสานเชื่อมโยงการทำงานขององค์คณะบุคคลที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด        

 

มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ

ตัวบ่งชี้ที่ ตัวช่งชี้ ประเด็นการพิจารณา รอบ 6 เดือน รอบ 12 เดือน Word Excel ประเด็นแก้ไข ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ
1 การบริหารงานด้านวิชาการ ประเด็นการพิจารณาที่ 6 พัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ดูแล ติดตามและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา        
2 การบริหารงานด้านงบประมาณ ประเด็นการพิจารณาที่ 1 การวางแผนการใช้งบประมาณอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับนโยบาย ปัญหา และความต้องการ          
3 การบริหารงานด้านการบริหารงานบุคคล ประเด็นการพิจารณาที่ 3 การพัฒนา ส่งเสริม ยกย่องเชิดชูเกียรติครูและบุคลากรทางการศึกษาสู่ความเป็นมืออาชีพ สอดคล้องกับปัญหาความต้องการจำเป็นและส่งเสริมความก้าวหน้าในวิชาชีพของครูและบุคลากรทางการศึกษา         
4 การบริหารงานด้านการบริหารทั่วไป ประเด็นการพิจารณาที่ 1 การพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ           บูรณาการQPตัวชี้วัดที่ X2 
5 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ประเด็นการพิจารณา การจัดระบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษาภารกิจหลัก 4 ด้าน และการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ          


มาตรฐานที่ 3 สัมฤทธิผลการบริหารและการจัดการศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ ตัวช่งชี้ ประเด็นการพิจารณา รอบ 6 เดือน รอบ 12 เดือน Word Excel ประเด็นแก้ไข ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ
1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีผลงานที่แสดงความสำเร็จและเป็นแบบอย่างได้ ประเด็นการพิจารณา ผลงานหรือผลการดำเนินงานของกลุ่ม/หน่วย ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่บรรลุเป้าหมาย ประสบความสำเร็จ ทั้งนี้เป็นผลงานที่เกิดจากการดำเนินงานภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาและสถานศึกษา เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทั้งภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา จนเกิดประสิทธิภาพ เป็นที่ยอมรับและสามารถยึดเป็นแบบอย่างได้  

       
2 สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา  ประเด็นการพิจารณา สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ได้รับการพัฒนา ส่งเสริม กำกับ ดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาโดยหน่วยงานต้นสังกัด และมีผลการประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ตามเกณฑ์ที่กำหนด          
    (1) ระดับการศึกษาปฐมวัย (เฉพาะสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา)        
    (2) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน         
3 ผู้เรียนระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณภาพตามหลักสูตร ประเด็นการพิจารณาที่ 1 ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยเป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560              บูรณาการ QP 6a
    ประเด็นการพิจารณาที่ 2 ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน (National Test : NT) (ติดตามแต่ไม่ประเมินผล)             บูรณาการ QP ตัวชี้วัดที่ 4 
    ประเด็นการพิจารณาที่ 3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test : O-NET) (ติดตามแต่ไม่ประเมินผล)             บูรณาการ AP ตัวชี้วัดที่ 4
    ประเด็นการพิจารณาที่ 4 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551              บูรณาการ AP ตัวชี้วัดที่ 10 
    ประเด็นการพิจารณาที่ 5 ผลการประเมินความสามารถในการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการเขียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ติดตามแต่ไม่ประเมินผล)             บูรณาการ AP ตัวชี้วัดที่ 11 
    ประเด็นการพิจารณาที่ 6 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญในการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ติดตามแต่ไม่ประเมินผล)             บูรณาการ AP ตัวชี้วัดที่ 11
4 ประชากรวัยเรียนได้รับสิทธิและโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานเท่าเทียมกัน ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น หรือมีความรู้ทักษะพื้นฐานในการประกอบอาชีพ  ประเด็นการพิจารณาที่ 1 จำนวนประชากรวัยเรียนที่มีอายุถึงเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับได้เข้าเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (เฉพาะสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา)          
    ประเด็นการพิจารณาที่ 2 อัตราการออกกลางคันลดลง          
    ประเด็นการพิจารณาที่ 3 อัตราการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นของผู้เรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6            
    3.1 ผู้เรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (เฉพาะสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา)          
    3.2 ผู้เรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เข้าเรียนต่อชั้นมัยธมศึกษาปีที่ 4 หรือเทียบเท่า (เฉพาะสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา)  - - - - - - บูรณาการ QP ตัวชี้วัดที่ 6b 
    3.3 ผู้เรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น (เฉพาะสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา) - - - - - - บูรณาการ QP ตัวชี้วัดที่ 6b 
    ประเด็นการพิจารณาที่ 4 ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความต้องการพิเศษได้รับการดูแลช่วยเหลือและส่งเสริมให้ได้รับการศึกษาเต็มตามศักยภาพ            
    4.1 เด็กพิการเรียนรวม        
    4.2 เด็กด้อยโอกาส        
    4.3 เด็กที่มีความสามารถพิเศษ             บูรณาการ AP ตัวชี้วัดที่ 13 
5 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พนักงานราชการ ลูกจ้างในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีผลงานเชิงประจักษ์ตามเกณฑ์ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ                บูรณาการร่วมกับมาตรฐานที่ 2 ตัวบ่งชี้ที่ 3 การบริหารงานด้านการบริหารงานบุคคล
6 ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความพึงพอใจในการบริหารและการจัดการศึกษารวมทั้งการให้บริการ ประเด็นการพิจารณา ผลการประเมินความพึงพอใจในการบริหารและการจัดการศึกษา รวมทั้งการให้บริการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตามกระบวนการบริหารงานและการจัดการศึกษา รวมทั้งการให้บริการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา โดยใช้แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจ ตามภารกิจหลัก 4 ด้าน และครอบคลุมทุกภารกิจของกลุ่ม/หน่วย