หัวข้อข่าว : แบบติดตาม ประเมินผล การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

(โพสต์เมื่อ : วันศุกร์ที่ 10 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2566  เวลา 12:02 น. เข้าชม : 29)

  • แบบติดตาม ประเมินผล การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของ สพฐ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
  • ประเด็นการแก้ไข (Update: 23 กุมภาพันธ์ 2566)  
  • เอกสารประกอบการประชุมชี้แจง 

 

สามารถรับชมการประชุมสร้างความเข้าใจการติดตาม ประเมินผลฯ ย้อนหลังได้ที่นี่

  • การประชุม วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566 (นโยบายเร่งด่วน,ตัวชี้วัด)  
  • การประชุม วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 (มาตรฐาน,การกรอกในระบบ) 
  • สารบัญเทปบันทึกการประชุม 

 คำสั่งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 

ส่วนที่ 1
การติดตาม ประเมินผล การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตามตัวชี้วัดนโยบายเร่งด่วนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Quick Policy : QP)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ตัวชี้วัด ประเด็น รอบ
6 เดือน
รอบ 12 เดือน Word Excel ประเด็นแก้ไข ผู้รับผิดชอบ
1 ระดับความสำเร็จของการจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย และการบริหารสถานการณ์ที่เกิดขึ้น น.ส.กมลพัทน์ ขวดทอง
น.ส.นุ่นนภา เหล่าเจริญ
น.ส.ฉวีวรรณ หอธรรมกุล
2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการ “พาน้องกลับมาเรียน”      น.ส.จารุวรรณ ปัจจุ้ย
3 ระดับความสำเร็จของการจัดการศึกษาตามแนวพระบรมราโชบายรัชกาลที่ 10 สู่การปฏิบัติ      นางอารยา ช่ออังชัญ
4 ระดับความสำเร็จของการนำผล RT/NT/O-NET หรือผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนอื่น ๆ ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา   น.ส.วาสนา ยาวงษ์
น.ส.สิริญา จิตวัฒนาธรรม
5 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ด้วยการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)      ว่าที่ร้อยตรีหญิงอัชฌาวดี ตันเจริญ
6a ระดับความสำเร็จของการจัดการการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ (เฉพาะสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา)

  น.ส.กัญญาภัค แสงอัคคี
6b ระดับความสำเร็จของการจัดการศึกษาเพื่อการศึกษาต่อ และ/หรือ การมีงานทำ (เฉพาะสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา) - - - - - -
7 ระดับความสำเร็จของการแก้ไขภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss) ของผู้เรียน   น.ส.นุ่นนภา เหล่าเจริญ
8 ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน      นางนุสรา ชื่นประสงค์
9 ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง คุณธรรม จริยธรรม   น.ส.ปราณี จงศรี
น.ส.ดวงแก้ว พรายแก้ว
10 ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการโรงเรียนคุณภาพและการใช้ทรัพยากรร่วมกันได้สำเร็จตามเป้าหมาย     น.ส.ปณิชา นันท์ชนาโชติ
นางปุณณภัสสร์ สุขเจริญ
X1 ระดับความสำเร็จของการค้นพบต้นแบบ นักเรียน ครู ผู้บริหาร ชุมชน ที่เป็นเลิศด้านการศึกษาและการสนับสนุนการศึกษา   นางอารยา ช่ออังชัญ
นางกัลยรัสย์ สุขประเสริฐ
นางนุสรา ชื่นประสงค์
X2 ระดับความสำเร็จของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการ 4 ด้าน (บริหารทั่วไป  งบประมาณ บริหารงานบุคคล วิชาการ)    นายกฤษณฤกษ์ กลิ่นเพย
นายชาลี โกจิ๋ว

 

ส่วนที่ 2
การติดตาม ประเมินผล การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตามตัวชี้วัดแผนปฏิบัติราชการของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Action Plan : AP)

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ตัวชี้วัด ประเด็น รอบ
6 เดือน
รอบ 12 เดือน Word Excel ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ
1 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ความเข้าใจในภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ รู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยี ในการดำเนินชีวิตวิถีใหม่และชีวิตวิถีถัดไป (ค่าเป้าหมายร้อยละ 80)         น.ส.กมลพัทน์ ขวดทอง
น.ส.นุ่นนภา เหล่าเจริญ
น.ส.ฉวีวรรณ หอธรรมกุล
บูรณาการ QP ตัวชี้วัดที่ 1 
2,3,4 ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนได้รับการศึกษาในสถานศึกษาที่มีความปลอดภัย (ค่าเป้าหมายร้อยละ 80)
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของสถานศึกษาที่มีแผน/มาตรการในการจัดการภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ รองรับวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) (ค่าเป้าหมายร้อยละ 80)
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของครู บุคลากรทางการศึกษา ดำเนินการตามแนวทางในการจัดการภัยพิบัติ และภัยคุกคามทุกรูปแบบ ให้สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ รองรับวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) (ค่าเป้าหมายร้อยละ 80)
    น.ส.กมลพัทน์ ขวดทอง
น.ส.นุ่นนภา เหล่าเจริญ
น.ส.ฉวีวรรณ หอธรรมกุล
 
5 อัตราการเข้าเรียนสุทธิ (Net enrollment rate) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ค่าเป้าหมายร้อยละ 70)         น.ส.จารุวรรณ ปัจจุ้ย
ว่าที่ร้อยตรีกฤษดา หาญเม่ง
ใช้ข้อมูลส่วนกลาง และ QP ตัวชี้วัดที่ 2
6 อัตราการเข้าเรียนสุทธิของผู้เรียนปฐมวัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ค่าเป้าหมายร้อยละ 70)         น.ส.จารุวรรณ ปัจจุ้ย
น.ส.กัญญาภัค แสงอัคคี
ใช้ข้อมูลส่วนกลาง
7 จำนวนผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษา และพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็น (ค่าเป้าหมาย 2,178,666 คน)         น.ส.จารุวรรณ ปัจจุ้ย
นางศิรินุช ชูกุศล
ใช้ข้อมูลส่วนกลาง
8 ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับเงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน (ค่าเป้าหมายร้อยละ 20)         น.ส.จุรีพร ศรวงศ์ ใช้ข้อมูลส่วนกลาง
9 ร้อยละของนักเรียนปฐมวัยมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา (ค่าเป้าหมายร้อยละ 80)         น.ส.กัญญาภัค แสงอัคคี บูรณาการ QP ตัวชี้วัดที่ 6a 
10 ร้อยละของผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ระดับดีขึ้นไป (ค่าเป้าหมายร้อยละ 90)   น.ส.ดวงแก้ว พรายแก้ว  
11 ร้อยละของผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะ และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (ค่าเป้าหมายร้อยละ 80)   น.ส.ดวงแก้ว พรายแก้ว  
12 ร้อยละของสถานศึกษาที่สอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้รับการเตรียมความพร้อม (ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์) ในการประเมินระดับนานาชาติ
ตามโครงการ PISA (ค่าเป้าหมายร้อยละ 70)
    น.ส.วาสนา ยาวงษ์  
13,14 ตัวชี้วัดที่ 13 ร้อยละของสถานศึกษาที่สามารถจัดการเรียนการสอนตามพหุปัญญา (ค่าเป้าหมายร้อยละ 30)
ตัวชี้วัดที่ 14 ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับการคัดกรองเพื่อพัฒนาพหุปัญญารายบุคคล (ค่าเป้าหมายร้อยละ 30)
  ว่าที่ร้อยตรีกฤษดา หาญเม่ง  
15 จำนวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความถนัด และความสามารถ (วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ทัศนศิลป์ นาฏศิลป์ ดนตรี กีฬา) (ค่าเป้าหมาย 22,650 คน)         ว่าที่ร้อยตรีหญิงอัชฌาวดี 
ตันเจริญ
ใช้ข้อมูลส่วนกลาง
16 ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ร้อยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมา (ค่าเป้าหมายร้อยละ 3)         น.ส.วาสนา ยาวงษ์ ใช้ข้อมูลส่วนกลาง และ QP ตัวชี้วัดที่ 4
17 ร้อยละของครูสอนภาษาอังกฤษในระดับชั้นประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ได้รับการพัฒนาและยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้ระดับการพัฒนาทางด้านภาษา (CEFR) ตามเกณฑ์ที่กำหนด (ค่าเป้าหมายร้อยละ 50)   น.ส.ไพลิน เกตุธิโภค
นางปุณณภัสสร์ สุขเจริญ
 
18 จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษาที่สามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) (ค่าเป้าหมายของ 100,000 คน)         ว่าที่ร้อยตรีหญิงอัชฌาวดี 
ตันเจริญ 
และศึกษานิเทศก์ทุกท่าน
น.ส.ไพลิน เกตุธิโภค
ใช้ข้อมูลส่วนกลาง
19 ร้อยละของหน่วยงานและสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่เป็นดิจิทัล (ค่าเป้าหมายร้อยละ 80)         นายกฤษณฤกษ์ กลิ่นเพย
นายชาลี โกจิ๋ว
บูรณาการ QP ตัวชี้วัดที่ X2
20 ร้อยละของสถานศึกษานำร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สถานศึกษาที่ตั้งในพื้นที่ลักษณะพิเศษ เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ เขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก (EEC) และโรงเรียนคุณภาพ ได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการศึกษาตามบริบทพื้นที่ (ค่าเป้าหมายร้อยละ 80)
- - - - - -
21 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA online (ค่าเป้าหมายร้อยละ 80)     นายวิรุตติ์ ราศรี 
น.ส.อนงค์นาถ นิลดำ
 
22 ร้อยละของสถานศึกษาและหน่วยงานใช้ระบบเชื่อมโยงข้อมูลในระบบแบบ Real Time (ค่าเป้าหมายร้อยละ 80)         นายกฤษณฤกษ์ กลิ่นเพย
นายชาลี โกจิ๋ว
บูรณาการ QP ตัวชี้วัดที่ X2
23 จำนวนครั้งของประชาชนที่เข้าถึงหลักสูตร สื่อ แหล่งเรียนรู้ที่จัดการศึกษาในรูปแบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต(Lifelong learning) (ค่าเป้าหมาย 100,000 ครั้ง)         น.ส.ดวงแก้ว พรายแก้ว ใช้ข้อมูลส่วนกลาง
24 ร้อยละของโครงการของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ที่บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามค่าเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ (ค่าเป้าหมายร้อยละ 10)    น.ส.ปณิชา นันท์ชนาโชติ
น.ส.กอบกาญจน์ เกิดทอง
น.ส.วจีนันท์ สิทธิรักษ์
น.ส.นพัตฐิพร คำทอง
 


ส่วนที่ 3
การติดตาม ประเมินผล การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2560

รายงานผล
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

รายงานผลการศึกษาและพัฒนารูปแบบการขับเคลื่อน
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

รายงานผลการติดตามการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพ